top of page

Learning Styles

 

The term “learning styles” speaks to the understanding that every student learns differently. Technically, an individual’s learning style refers to the preferential way in which the student absorbs, processes, comprehends and retains information. For example, when learning how to build a clock, some students understand the process by following verbal instructions, while others have to physically manipulate the clock themselves. This notion of individualized learning styles has gained widespread recognition in education theory and classroom management strategy. Individual learning styles depend on cognitive, emotional and environmental factors, as well as one’s prior experience. In other words: everyone’s different. It is important for educators to understand the differences in their students’ learning styles, so that they can implement best practice strategies into their daily activities, curriculum and assessments.

 

UNDERSTANDING VARK

One of the most accepted understandings of learning styles is that student learning styles fall into three “categories:” Visual Learners, Auditory Learners and Kinesthetic Learners. These learning styles are found within educational theorist Neil Fleming’s VARK model of Student Learning. VARK is an acronym that refers to the four types of learning styles: Visual, Auditory, Reading/Writing Preference, and Kinesthetic. (The VARK model is also referred to as the VAK model, eliminating Reading/Writing as a category of preferential learning.) The VARK model acknowledges that students have different approaches to how they process information, referred to as “preferred learning modes.” The main ideas of VARK are outlined in Learning Styles Again: VARKing up the right tree! (Fleming & Baume, 2006)

 

  • Students’ preferred learning modes have significant influence on their behavior and learning.

  • Students’ preferred learning modes should be matched with appropriate learning strategies.

  • Information that is accessed through students’ use of their modality preferences shows an increase in their levels of comprehension, motivation and metacognition.

Identifying your students as visual, auditory, reading/writing or kinesthetic learners, and aligning your overall curriculum with these learning styles, will prove to be beneficial for your entire classroom. Allowing students to access information in terms they are comfortable with will increase their academic confidence.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

By understanding what kind of learner you and/or your students are, you can now gain a better perspective on how to implement these learning styles into your lesson plans and study techniques.

 

SWOT STRATEGIES

Referred to as SWOT (“Study Without Tears”), Flemings provides advice on how students can use their learning modalities and skills to their advantage when studying for an upcoming test or assignment.

 

Visual SWOT Strategies

  • Utilize graphic organizers such as charts, graphs and diagrams.

  • Redraw your pages from memory.

  • Replace important words with symbols or initials.

  • Highlight important key terms in corresponding colors.

  •  

Aural SWOT Strategies

  • Record your summarized notes and listen to them on tape.

  • Talk it out. Have a discussion with others to expand upon your

  • understanding of a topic.

  • Reread your notes and/or assignment out loud.

  • Explain your notes to your peers/fellow “aural” learners.

  •  

Read/Write SWOT Strategies

  • Write, write and rewrite your words and notes.

  • Reword main ideas and principles to gain a deeper understanding.

  • Organize diagrams, charts, and graphic organizers into statements.

  •  

Kinesthetic SWOT Strategies

  • Use real life examples, applications and case studies in your summary to help with abstract concepts.

  • Redo lab experiments or projects.

  • Utilize pictures and photographs that illustrate your idea.

How do you learn best? Complete Fleming’s VARK Questionnaire to find out what kind of learner you are.

 

http://teach.com/what/teachers-teach/learning-styles

 

 

รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style)
 

 

 

             สรัญญา รุจิเรขเรืองรอง  รูปแบบการเรียนรู้ เป็นลักษณะเฉพาะของคนแต่ละคนซึ่งบูรณาการ 1 ลักษณะทางกายภาพ อารมณ์และความรู้สึกนึกคิดปรากฏให้เห็นว่า คนแต่ละคน เรียนรู้ได้ดีที่สุดอย่างไรเนื่องจากคนทุกคนมีจุดเด่น จุดด้อย ต่างกัน และมีความชอบที่แตกต่างกัน บางคนเรียนได้ดีด้วยการฟัง บางคนเรียนได้ดีด้วยการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ (จด, บันทึก) บางคนชอบลงมือปฏิบัติ หลายคนเรียนรู้ได้ดีเมื่อเข้าอยู่เป็นกลุ่ม บางคนชอบทำงานคนเดียว… จึงไม่มีวิธีใดดีที่สุดสำหรับคนทุกคนนอกจากนี้ สิ่งเร้าต่าง ๆ อันได้แก่ สภาพแวดล้อม อารมณ์ สภาพทางสังคม เศรษฐกิจสถานะของครอบครัว ลักษณะทางกายภาพ และสภาวะทางจิตใจ ยังมีผลต่อรูปแบบการเรียนรู้ของบุคคลแต่ละคนการศึกษาเรื่องรูปแบบการเรียนรู้ เป็นการศึกษาพฤติกรรมที่สังเกตได้ คล้ายบุคลิกภาพมากกว่าศึกษาพฤติกรรมตามพื้นฐานทางจิตวิทยา จำไว้ว่า รูปแบบการเรียนรู้เป็นพฤติกรรมที่สามารถปรับเปลี่ยนได

 


ทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้

             จำแนกตามพฤติกรรมที่แสดงในชั้นเรียนทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้ Learning Style
จำแนกตามแบบการคิด(สภาพความคิดของบุคคล ที่มีผลมาจากสภาพแวดล้อมลักษณะทางกายภาพ ฯลฯ)รูปแบบการเรียนรู้ 
จำแนกตามพฤติกรรมที่แสดงในชั้นเรียน เช่น :-

ทฤษฎีของ Grasha & Reichman

1. แบบแข่งขัน - ชอบเอาชนะเพื่อน
2. แบบอิสระ - เชื่อมั่น
3. แบบหลีกเลี่ยง - ไม่สนใจ
* อาจารย์ประจำ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร
1 รวมหน่วยต่าง ๆ ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
4. แบบพึ่งพา - อาจารย์และเพื่อน เป็นแหล่งความรู้
5. แบบร่วมมือ - ร่วมมือแสดงความเห็น ทั้งในและนอกชั้นเรียน
6. แบบมีส่วนร่วม - จะพยายามมีส่วนร่วมให้มากที่สุด ในกิจกรรมการเรียน (ในชั้นเรียน)แต่จะไม่สนใจกิจกรรมนอกหลักสูตรเลย

รูปแบบการเรียนรู้ จำแนกตามแบบการคิด เช่น :-

ทฤษฎีของ วิทคิน และคณะ

1. แบบพึ่งพาสภาพแวดล้อม (Field dependent)
2. แบบไม่พึ่งพาสภาพแวดล้อม (Field independent)

ทฤษฎีของ คาร์ล จี จุง

แบ่งคนเป็น 2 แบบ
1. พวกเก็บตัว (Introver)
2. พวกแสดงตัว (Extrover)

ทฤษฎีของ Kagan และคณะ แบ่งวิธีคิดของมนุษย์เป็น 3 ประเภท

1. คิดแบบวิเคราะห์ Analytical Style รับรู้สิ่งเร้าในรูปของส่วนย่อยมากกว่าส่วนรวม นำส่วนย่อยมาประกอบเป็นความนึกคิด
2. คิดแบบโยงความสัมพันธ์ Relational Style พยายามโยงสิ่งต่าง ๆ ให้มาสัมพันธ์กัน
3. แบบจำแนกประเภท Categorical Style จัดสิ่งเร้าเป็นประเภทตามความรู้หรือประสบการณ์ โดยไม่คำนึงถึงข้อเท็จจริงที่ปรากฏในสิ่งเร้านั้น
ทฤษฎีของ Honey & Mumford แบ่งคนเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้
รับรู้ประสบการณ์ใหม่ Pragmatist Activist
นักปฏิบัติ นักกิจกรรม
ประยุกต์สู่การปฏิบัติ พิจารณาไตร่ตรองTheorist Reflector
นักทฤษฎี นักไตร่ตรอง นำไปสร้างเป็นทฤษฎี

- สรุป -

รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style) เป็นบุคลิกของนักศึกษาที่อธิบายว่า
- นักศึกษาเรียนอย่างไรที่จะทำให้เข้าใจเนื้อหาวิชาได้ดีที่สุด
- นักศึกษามีพฤติกรรมเฉพาะบุคคลอย่างไรเก็บตัว แสดงตัวรอบคอบ หุนหันพลันแล่นตัดสินใจด้วยญาณวิถี ตัดสินใจด้วยเหตุผล
- นักศึกษามีความสามารถในการรับและคงไว้ซึ่งสิ่งที่เรียนอย่างไร
* เป็นยุทธวิธีที่นักศึกษาชอบใช้ในการเรียน
* เป็นลักษณะที่ปรากฏให้เห็นได้ว่า คนแต่ละคนเรียนรู้ได้ดีที่สุดอย่างไร*



Excerpted from: http://www.mbs.mut.ac.th/paper/pdf/32.pdf .

 

bottom of page